ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เจตนคิของชาวพุทธ



https://www.youtube.com/watch?v=xadEhZ2KE28&feature=youtu.be

สังคมชาวพุทธในประเทศไทยส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธแต่ในนามและจะเน้นในเรื่องพิธีกรรมส่วนหลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอันเป็นหลักคำสอนที่เป็นแก่นธรรมที่พระพุทธเจ้าได้มอบให้ไว้กับพุทธบริษัททั้ง ๔ อันได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา แทนตัวพระองค์แทบจะไม่มี ที่มีอบู่ก็เป็นแค่เปลือกหรือกระพี้อาจจะถูกบิดเบือนหรือเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสสังคมบริโภคนิยมหรือทุนนิยมสามานย์การตลาด แต่ที่ถูกบิดเบือนอย่างเป็นระบบและแนบเนียนที่สุดก็คือเกิดจากความตั้งใจของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเพื่อผลประโยชน์ทางด้านอำนาจ ความเชื่อและผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ ที่ได้เข้ามากระทำต่อศาสนาพุทธอย่างร้ายแรงจนทำให้ศาสนาพุทธในพื้นที่ถิ่นกำเนิด(ประเทศอินเดีย)ถูกทำรายจนเกือบหมดจะเหลืออยู่บ้างก็เพียงเล็กน้อย ขบวนการทำลายพระพุทธศาสนาในอินเดียในอดีด มีการกระทำกันอย่างเป็นระบบโดยนักปราชญ์ปัญญาชนชื่อว่า"ศังกราจารย์"*  ที่เข้ามาอยู่วงในใจกลางพระพุทธศาสนา เข้ามาศึกษาพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัยทางพระพุทธศาสนาอันยิ่งใหญ่และมีชื่อเสียงในอดีตคือ"มหาวิทยาลัยนาลันทา" และที่ร้ายแรงที่สุดที่ศาสนาพุทธถูกทำรายอย่างป่าเถื่อนที่สุดที่กระทำต่อมหาวิทยาลัยแห่งนี้โดยการเผาอาคารสถานที่ตลอดจนหนังสือตำราทางพระพุทธศาสนาโดยใช้เวลาเผาถึง ๗ วัน ๗ คืนกว่าจะเผาตำราทางพระพุทธศาสนาหมดและได้เข่นฆ่านักศึกษาและครูบาอาจารย์ตายเป็นเบือนี้เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตทั้งสองกรณีใหญ่ๆ
    ส่วนการเสื่อมของศาสนาพุทธในไทยเกิดขึ้นคล้ายๆกรณีย์ของนักปราชญ์""ศังกราจารย์"*แต่ค่อยๆทำรายจากกลไกอำนาจรัฐเพื่อผลทางอำนาจการปกครองพลเมือง โดยยังคงไว้ในหลักธรรมแต่ประชาชนจะเข้าถึงได้ยากแต่จะไปเน้นตรงพิธีกรรมซึ่งประชาชนเข้าถึงได้ง่ายทั้งในพิธีของรัฐและในหมู่ประชาชน พีธีกรรมเกือบทั้งหมดเป็นเรืองนอกศาสนาพุทธแต่นำมาผสมคลุกเคล้ากับเรื่องในศาสนาพุทธเช่นเดียวกับที่นักปราญ"ศังกราจารย์"ได้นำไปใช้ทำรายศาสนาพุทธในอินเดียได้สำเร็จอาจจะเป็นไปได้ที่ความเชื่อที่"ศังกราจารย์"ได้ผสมผสานเป็นศาสนาพุทธในแบบของ"ศังกราจารย์"ในอินเดียถูกชนชั้นนำในสังคมไทยนำมาใช้ในสังคมไทยเพื่อผลทางอำนาจการปกครองพลเมือง
       อย่าคิดว่ากลไกแบบพื้นๆง่ายๆอย่างนี้จะมีแต่กลไกอำนาจรัฐเดิมอย่างเดียวที่จะนำเอาความอ่อนต้อยทางปัญญาหรืออวิชชาที่ถูกกระทำจากกลไกอำนาจเดิมมาโดยตลอดจนอาจกล่าวได้ว่าสังคมไทยเป็นสังคม"ด้อยปัญญ่ชา"อย่างเต็มรูปแบบแล้วการนำเอาจุดอ่อนเหล่านี้มาใช้เป็นผลประโยชน์ทางด้านอำานจและผลประโยชน์ทางด้านอื่นได้แต่เพียงฝ่ายเดียว ฝ่ายอื่นเขาก็สามารถช่วงชิงกลไกเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ได้เช่นกันแถมยังใช้กลไกอำนาจรัฐเก่ามาช่วยทำงานให้เขาอีกด้วย โดยที่ผู้ก่อปัญหานี้หลงลืมไปว่าตัวเองเป็นผู้สร้างดาปอันนี้ไว้จนกลายเป็นเรื่องธรรมดาเคยชินไม่ได้ตระหนักว่ามันเป็นดาปสองคมสักวันหนึ่งมันกลับมาฟาดฟันตัวเองกว่าจะรู้มันก็สายเสียแล้ว อย่างกรณีธรรมกายมันไม่ใช่เรื่องของธรรมกายโดดๆมันจะเกี่ยวโยงเข้าไปถึงส่วนต่างๆของสังคมในกลไกอำนาจรัฐปัจจุบันแม้กระทั่งในรัฐบาลของลุงตู่ก็ย่อมมีส่วนเกี่ยวโยงอยู่แล้วอย่างแน่นอนไม่ตองพูดถึงฝ่ายทางการเมืองเขาก็เป็นเนื้อเดียวกันอยู่แล้ว เพราะเรื่องในทำนองนี้มันเป็นเครื่องมือทางการเมือง ที่มันเกิดขึ้นเพราะผู้ที่สร้างต้องการจะใช้มันเป็นเครื่องมือทางการเมืองตั้งแต่ผู้สร้างครั้งแรกๆเดิมๆ อย่าลืมว่าโครงสร้างสังคมไทยที่เป็นอยุ่เป็นโครงสร้างแบบ"สังคมด้อยปัญญา" ซึ่งมันเป็นโครงสร้างชั้นบนเป็นโครงสร้างทางจิตสำนึกการที่จะใช่อำนาจเพียงอย่างเดียวเข้าไปจัดการไม่สารถกระทำให้เปลี่ยนแปลงได้ อย่างดีก็แค่เข้าไปกดทับไม่ให้แสดงออกก็พอจะได้ก็เหมือนกวาดขยะเข้าไปซ่อนไว้ให้พรหม
   การที่จะเปลี่ยนโครงสร้างทางจิตสำนึกของสังคมให้ได้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปฏิรูปหรือเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือให้ถึงที่สุดต้องปฏิวัติโครงสร้างชั้นล่างก่อนอันได้แก่กลไกอำนาจรัฐในส่วนต่างๆทั้งหมด รบบการบริหารราชกาบแผ่นดิน นโยบาลของรัฐ กลไกทางด้านเศรษฐกิจ ทางด้านสังคม ตลอดจนนโยบายปฏิรูปประเทศในเรื่องต่างๆโดยเฉพาะการปฏิรูปพลังงานจะต้องไปในทิศทางเดียวกันและจะต้องมีแนวคิดหรือปรัชญญาเป็นเข็มทิศชี้นำเช่นที่เห็นเป็นรูปธรรมที่เป็นจริงได้ในขณะนี้คือแนวปรัชญญา"เศรษฐกิจพอเพียง"ตามหลัก"ทฤษฎีใหม่" ถ้าทำงานอย่างสะเปะสะปะขาดทิศทางขาดทฤษฏีชี้นำที่ชัดเจน  ปลอยให้อำนาจของทุนนิยมสามานย์ที่แฝงตัวอยู่ในรัฐบาลสามารถใช้อำนาจเนือรัฐบาลหรือครอบงำรัฐบาลอย่างเห็นได้ชัดอย่างกรณืย์ที่ สนช.รับหลักการร่าง พรบ.ปีโตรเลี่ยมทั้ง 2 ฉบับ มันเป็นการดำเนินนโยบายที่สะเปะสะปะขัดแย้งกับผลประโยชน์ชองชาติและประชาชน รัฐบาลลุงตู่ที่มีอำนาจอย่างเต็มรูปแบบควรถอน พรบ.ทั้งสองฉบับนี้ออกมา จาก สนช. แล้วประชาชนพร้อมที่จะปกป้องและสนับสนุนลุงตู่ให้จัดการกับเสี้ยนหนามของแผ่นดินสร้างสังคมไทยใหม่ให้อยู่กันอย่างสงบสุขและสันติภาพตลอดไป ลุงตู่ไม่ต้องเป็นห่วงเรื่องการลาออก........!!!
  


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

นิทานสุภาษิตจีนเรื่อง ลุงโง่ย้ายภูเขา

   มีชายชราคนหนึ่งชื่อว่า ลุงหยูกง แกตั้งบ้านเรือนอยู่ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งที่อยู่หลังภูเขาสองลูกชื่อว่า ไท่เชียงและหวังหวู ภูเขาสองลูกนี้ สูงนับพัน เริน กว้างใหญ่ถึง 700 ตารางลี้ ทุกคนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่หลังเขาทั้งสองลูกนี้ ไม่สะดวกในการเดินทางเพราะภูเขามาปิดกันความ สะดวกสบาย แต่ด้วยความเคยชินไม่มีใครสนใจต่ออุปสักข้อนี้ ลุงหยูกงแกก็ใช้ชีวิติไปตามปกติเหมือนคนทั่วไป หรือแกจะคิดถึงอุปสักข้อนี้ อยู่บ้างตามนิทานก็ไม่ได้บันทึกไว้ และอีกข้อหนึ่งที่นิทานไม่ได้บันทึกไว้ก็คือไม่เคยปรากฏว่าแกเคยเป็นกำานัน ตามนิทานจึงไม่เรียกแกว่า “ลุง กำานัน  หยูกง”   จนกระทั่งอยู่มาวันหนึ่งแกเกิดดำาริขึ้นในใจว่า”เราก็ทำาอะไรต่อมิอะไรมาในชีวิติมากมายถูกบ้างผิดบ้างเป็ นธรรมดาของคน สามัญทั่วๆไป แต่ครั้งนี้เราได้ไตร่ตรองอย่างรอบคอบแล้วว่า ไอ้ภูเขาสองลูกนี้ที่ขวางความเจริญของหมู่บ้านเราอยู่นี้ จะต้องขุดย้ายออกไป ไม่ให้เป็นอุปสักขัดขวางความเจริญก้าวหน้าของหมู่บ้านต่อไปอีก ว่าแล้วแกก็ชวนลูกหลานและเพื่อนบ้านที่เห็นด้วยกับแกให้มาช่วยกันขุดย้าย ภูเขา ยังมีเพื่อนบ้านของลุงหยูกงคนหนึ่งชื่อว่า ลุงจือโช่ว เม

ภาวะมลพิษจากโรงกลั่นน้ำมัน

ภาวะมลพิษจากโรงกลั่นน้ำมัน ( ผศ.ดร. สุปราณี แก้วภิรมย์) เป็นที่ทราบกันดีว่าก่อนที่จะใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียมนั้น ปิโตรเลียมหรือน้ำมันดิบที่ค้นพบจะถูกนำมากลั่นเสียก่อน การกลั่นน้ำมันดิบก็คือการย่อยสลายส่วนประกอบของปิโตรเลียมออกเป็นส่วนต่างๆ ที่แตกต่างกันมากมาย เช่น น้ำมันเบนซิน น้ำมันก๊าด น้ำมันเครื่องบิน น้ำมันดีเซล น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันเตา ถ่านโค้ก ขี้ผึ้ง ยางมะ-ตอย และแก๊สหุงต้ม เป็นต้น   โรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 7 แห่ง ได้แก่โรงกลั่นน้ำมันบริษัทไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) โรงกลั่นน้ำมันบริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด โรงกลั่นน้ำมันบริษัทโรงกลั่นน้ำมันระยอง จำกัด โรงกลั่นน้ำมันบริษัทสตาร์ปิโตรเลียมรีไฟน์นิ่ง จำกัด โรงกลั่นน้ำมันบริษัทบางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) โรงกลั่นน้ำมันบริษัทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) และ โรงกลั่นน้ำมันบริษัทระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) โรงกลั่นน้ำมันเหล่านี้เกือบทั้งหมดตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเขตนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชลบุรี และระยอง และเป็นที่น่าสังเกตว่าประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นดังกล่า

พุทธคือวิถีแห่งปัญญา (ตอนที่ ๒)

พุทธคือวิถีแห่งปัญญา (ตอนที่ ๒)   ถ้าหากจะต้องจัดลำดับใหม่ให้เห็นภาพได้ชัดขึ้น มรรคที่มีองค์ประกอบ ๘ ประการดังกล่าวก็คือ สิกขา ๓ หรือไตรสิกขาที่เรียกว่า อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญาสิกขา สิกขา   ตามความหมายของพุทธนั้น คือ กระบวนการรับรู้หรือเรียนรู้ที่ผ่านการปฏิบัติและได้ประจักษ์แจ้งจริง ส่วน อธิ นั้นหมายถึง ใหญ่ หรือสำคัญ ดังนั้น อธิและสิกขาก็คือการเรียนรู้ยิ่งขึ้นไปของศีล จิตต (สมาธิ) และปัญญา อันเป็นลักษณะพลวัตของไตรสิกขาดังกล่าว หรือกล่าวโดยย่อก็คือ ศีล สมาธิ ปัญญา คือ องค์ประกอบสำคัญที่จำเป็นจะต้องมีการพัฒนายิ่งขึ้นไปอย่างต่อเนื่องเพื่อการบรรลุนิพพานนั่นเอง จึงจำแนกได้ดังนี้      ดังนั้นเครื่องมือที่สำคัญที่สุดที่จะยกระดับจิตของมนุษย์ก็คือปัญญาซึ่งเป็นจุดเน้นที่สำคัญที่สุดของพุทธธรรมและเนื่องจากปัญญามีความสำคัญที่สุดกระบวนการสร้างปัญญาจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งจุดนี้เป็นจุดที่ขาดหายไปจากการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์มนุษยนิยม        เพื่อการเข้าใจที่ชัดเจนของกระบวนการยกระดับหรือสร้างเสริมทางปัญญา  จะต้องหันกลับมาศึกษาองค์ประกอบของมนุษ