ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ความวุ่นวายทั้งปวงในโลกนี้มีต้นตอมาจากอะไร !


ความวุ่นวายทั้งปวงในโลกนี้มีต้นตอมาจากอะไร !




สิ่งลี่ลับที่อยู่เบื้องหลังโลกเราซึ่งเต็มไปด้วยความวุ่นวายอยู่ตลอดเวลา ตามหลักศาสนาหลายๆศาสนามีความเชื่อว่า มนุษย์ทุกคน
ต่างก็มีวิญญาณที่พระเจ้าสร้างให้อยู่ในตัวมนุษย์อย่างยั่งยืนแยกอยู่อย่างโดดเดี่ยว หลังจากตายแล้ว วิญญาณนั้นจะไปสถิตอย่าง
ถาวรอยู่ในสวรรค์หรือนรกแล้วแต่พระเจ้าจะบรรดาลให้

สิ่งที่เรียกว่า”วิญญาณ “ (soul) “อัตตา” (self) “ตัวตน” (EGO) หรือ “อาตมัน” (Atman) ทั้งหมดนี้คืออันเดียวกัน ที่เชื่อกันว่าสิงสถิต
อยู่ในตัวมนุษย์ไปตลอด วิญญาณ หรือ อัตตาที่สิงสถิตอยู่ในตัวมนุษย์จะทำหน้าที่คิดนึก สัมผัสอารมณ์ และรับผลตอบแทนที่ดี
และไม่ดีที่เกิดจากการกระทำทุกอย่าง ความเชื่อเช่นนี้เรียกว่า “อัตตทิฎฐิ” (ความเชื่อ หรือความคิดว่ามีตัวตน)

ในหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาได้ปฏิเสธอย่างหนักแน่นและยืนยัน ถึงความมีอยู่ของวิญญาณ อัตตา หรืออาตตมันในความ
หมายและความเชื่อที่กล่าวข้างต้น คำสอนในพุทธธรรม ในความคิดที่ว่า “อัตตทิฎฐิ” (ความคิดว่ามีตัวตน) เป็นความเชื่่อที่ผิด
พลาดงมงาย ขัดต่อความเป็นจริง ซึ่งก่อให้เกิดอุปาทานยึดมั่นถือมั่นว่า “ตัวกู”  “ของกู” ซึ่งจะก่อให้เกิดความเห็นแก่ตัว ความยึด
ติด ความโลภ ความโกรธ ความพยาบาท ความทะนงตน ความถือดี ความหลง และกิเลลาสวะอื่นๆอีกมากมาย และเป็นต้นเหตุ
ของความวุ่นวายทั้งหลายทั้งปวง นับตั้งแต่ความขัดแย้งระหว่างบุคคล รวมไปถึงการสู้รบใช้ความรุนแรงกันของคนในชาติ หรือ
จะสรุปสั้นๆได้ว่าความชั่วทั้งหลายทั้งปวงที่เกิดขึ้นในโลกนี้ล้วนเกิดจากความคิดและความเชื่อนี้ทั้งสิ้น.......!!!

                                                                 วีระ สระกวี
                                                         ๑๒ ธค.๕๙ : ๒๓.๓๐

   ตีความและสรุปประเด็นจากหนังสือ “พระพุทธเจ้าทรงสอนอะไร  : What the Buddha Taught “
โดยพระ ดร. ดับลิว ราหุลเถระ  แปลโดย มหาจุฬารงกรณราชวิทยาลัย





ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

นิทานสุภาษิตจีนเรื่อง ลุงโง่ย้ายภูเขา

   มีชายชราคนหนึ่งชื่อว่า ลุงหยูกง แกตั้งบ้านเรือนอยู่ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งที่อยู่หลังภูเขาสองลูกชื่อว่า ไท่เชียงและหวังหวู ภูเขาสองลูกนี้ สูงนับพัน เริน กว้างใหญ่ถึง 700 ตารางลี้ ทุกคนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่หลังเขาทั้งสองลูกนี้ ไม่สะดวกในการเดินทางเพราะภูเขามาปิดกันความ สะดวกสบาย แต่ด้วยความเคยชินไม่มีใครสนใจต่ออุปสักข้อนี้ ลุงหยูกงแกก็ใช้ชีวิติไปตามปกติเหมือนคนทั่วไป หรือแกจะคิดถึงอุปสักข้อนี้ อยู่บ้างตามนิทานก็ไม่ได้บันทึกไว้ และอีกข้อหนึ่งที่นิทานไม่ได้บันทึกไว้ก็คือไม่เคยปรากฏว่าแกเคยเป็นกำานัน ตามนิทานจึงไม่เรียกแกว่า “ลุง กำานัน  หยูกง”   จนกระทั่งอยู่มาวันหนึ่งแกเกิดดำาริขึ้นในใจว่า”เราก็ทำาอะไรต่อมิอะไรมาในชีวิติมากมายถูกบ้างผิดบ้างเป็ นธรรมดาของคน สามัญทั่วๆไป แต่ครั้งนี้เราได้ไตร่ตรองอย่างรอบคอบแล้วว่า ไอ้ภูเขาสองลูกนี้ที่ขวางความเจริญของหมู่บ้านเราอยู่นี้ จะต้องขุดย้ายออกไป ไม่ให้เป็นอุปสักขัดขวางความเจริญก้าวหน้าของหมู่บ้านต่อไปอีก ว่าแล้วแกก็ชวนลูกหลานและเพื่อนบ้านที่เห็นด้วยกับแกให้มาช่วยกันขุดย้าย ภูเขา ยังมีเพื่อนบ้านของลุงหยูกงคนหนึ่งชื่อว่า ลุงจือโช่ว เม

ภาวะมลพิษจากโรงกลั่นน้ำมัน

ภาวะมลพิษจากโรงกลั่นน้ำมัน ( ผศ.ดร. สุปราณี แก้วภิรมย์) เป็นที่ทราบกันดีว่าก่อนที่จะใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียมนั้น ปิโตรเลียมหรือน้ำมันดิบที่ค้นพบจะถูกนำมากลั่นเสียก่อน การกลั่นน้ำมันดิบก็คือการย่อยสลายส่วนประกอบของปิโตรเลียมออกเป็นส่วนต่างๆ ที่แตกต่างกันมากมาย เช่น น้ำมันเบนซิน น้ำมันก๊าด น้ำมันเครื่องบิน น้ำมันดีเซล น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันเตา ถ่านโค้ก ขี้ผึ้ง ยางมะ-ตอย และแก๊สหุงต้ม เป็นต้น   โรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 7 แห่ง ได้แก่โรงกลั่นน้ำมันบริษัทไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) โรงกลั่นน้ำมันบริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด โรงกลั่นน้ำมันบริษัทโรงกลั่นน้ำมันระยอง จำกัด โรงกลั่นน้ำมันบริษัทสตาร์ปิโตรเลียมรีไฟน์นิ่ง จำกัด โรงกลั่นน้ำมันบริษัทบางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) โรงกลั่นน้ำมันบริษัทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) และ โรงกลั่นน้ำมันบริษัทระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) โรงกลั่นน้ำมันเหล่านี้เกือบทั้งหมดตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเขตนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชลบุรี และระยอง และเป็นที่น่าสังเกตว่าประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นดังกล่า

พุทธคือวิถีแห่งปัญญา (ตอนที่ ๒)

พุทธคือวิถีแห่งปัญญา (ตอนที่ ๒)   ถ้าหากจะต้องจัดลำดับใหม่ให้เห็นภาพได้ชัดขึ้น มรรคที่มีองค์ประกอบ ๘ ประการดังกล่าวก็คือ สิกขา ๓ หรือไตรสิกขาที่เรียกว่า อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญาสิกขา สิกขา   ตามความหมายของพุทธนั้น คือ กระบวนการรับรู้หรือเรียนรู้ที่ผ่านการปฏิบัติและได้ประจักษ์แจ้งจริง ส่วน อธิ นั้นหมายถึง ใหญ่ หรือสำคัญ ดังนั้น อธิและสิกขาก็คือการเรียนรู้ยิ่งขึ้นไปของศีล จิตต (สมาธิ) และปัญญา อันเป็นลักษณะพลวัตของไตรสิกขาดังกล่าว หรือกล่าวโดยย่อก็คือ ศีล สมาธิ ปัญญา คือ องค์ประกอบสำคัญที่จำเป็นจะต้องมีการพัฒนายิ่งขึ้นไปอย่างต่อเนื่องเพื่อการบรรลุนิพพานนั่นเอง จึงจำแนกได้ดังนี้      ดังนั้นเครื่องมือที่สำคัญที่สุดที่จะยกระดับจิตของมนุษย์ก็คือปัญญาซึ่งเป็นจุดเน้นที่สำคัญที่สุดของพุทธธรรมและเนื่องจากปัญญามีความสำคัญที่สุดกระบวนการสร้างปัญญาจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งจุดนี้เป็นจุดที่ขาดหายไปจากการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์มนุษยนิยม        เพื่อการเข้าใจที่ชัดเจนของกระบวนการยกระดับหรือสร้างเสริมทางปัญญา  จะต้องหันกลับมาศึกษาองค์ประกอบของมนุษ